วันเสาร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2557

มารู้จักช่างเครื่องเงินสุรินทร์กัน

จากโพสต์ที่แล้วที่ผมได้ บอกตั้งแต่ประวัติการทำเครื่องเงิน ประเกือมแบบต่างๆ ตะเกาแบบต่างๆ หลายท่านคงจะสงสัยนะครับว่า ผู้ที่รัวสรรค์เงินธรรมดาๆให้เป็นเครื่องประเดับเงินที่แสน วิจิตรตระการตานั้น มีรูปร่างหน้าตายังไง วันนี้ผมจะแนะนำช่างเครื่องเงินสุรินทร์ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนนับตั้งแต่ปี 2549 งั้นเรามาเริ่มกันเลยดีกว่า

1.ครูป่วน เจียวทอง

2.ครูสมบูรณ์ เสาร์ศิริ(น้องเขยครูป่วน)

3.ครูขันธ์ทิพย์ เจียวทอง(ลูกชายครูป่วน แต่เสียชีวิตแล้ว)

4.นายนพรุจ เพชรเลิศ(เป็นลูกศิษย์ของครูป่วน ครูสมบูรณ์ และครูขันธ์ทิพย์)

 5.นายฤทธิชัย บรรลือทรัพย์ (เป็นลูกศิษย์ครูป่วน ครูสมบูรณ์และครูขันธ์ทิพย์)
6.นายประวิช สายยศ(เป็นลูกศิษย์ครูป่วน ครูสมบูรณ์ และครูนพรุจ)

  เห็นไหมละครับว่าชาวสุรินทร์ของเราล้วนมีความสามารถด้วยกันทั้งสิ้น ซึ่งเครื่องเงิน ไม่ว่าจะเป็นประเกือมหรือตะเกานั้น เราควรอนุรักษ์ไว้ให้ลูกหลานของเราได้ชื่นชม ส่วนคราวหน้าผมจะนำเรื่องราวดีๆอะไรมาบอก ต้องติดตามต่อไปนะครับ สำหรับโพสต์นี้....สวัสดีครับ!

วันศุกร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2557

ตะเกาแบบต่างๆ

1.       เครื่องประดับหู เรียกว่า ตะเกา หรือ ขจอน

                                “ตะเกา” ภาษาเขมร ใช้เรียก“ตุ้มหู” เป็นการขึ้นรูปด้วยการดัดเส้นลวดเงินไปมาในระยะความห่างที่เท่าๆกันจนได้รูปทรงที่ต้องการ และนำมาเชื่อมต่อซ้อนกันตามขนาดต่างๆ เป็นขั้นบันไดจากนั้นประดับด้วยเม็ดไข่ปลา  เป็นงานที่พิถีพิถันละเอียดเป็นที่สุด  ตามโบราณใช้เทคนิคการลนไฟให้เส้นเงินหลอมละลายจนขมวดตัวเป็นเม็ดกลมๆบนรางไม้ไผ่เรียกว่า “ไข่ปลา” ที่อาศัยผิวที่แตกร้าวของไม้ไผ่นั้นเป็นแผงยึดเกาะไม่ให้เม็ดเงินเล็กจิ๋วลื่นไหลหรือปลิวไป  และเทคนิคดั้งเดิมอีกอย่างก็คือ  การใช้ลูกเบง (ผลในฝักของไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง )  มาฝนกับน้ำ สำหรับเป็นตัวเกาะยึดไข่ปลาและชิ้นส่วนขนาดเล็กอื่นๆ ติดตัวชิ้นงานได้โดยง่าย โดยลวดลายตะเกาที่โดดเด่นเป็นที่รู้จักและสร้างชื่อแก่เครื่องเงินสุรินทร์ เช่น ตะเกาดอกรังหอก ตะเกาดอกระเวียง ตะเกาดอกตั้งโอ๋  ตะเกาไข่แมงดา  ฯลฯ

ตุ้มหูตะเกา

สร้อยคอตะเกา

เข็มขัดตะเกา

 ดอกตั้งโอ๋ 1 ชั้น                     

ดอกขจร

ดอกตั้งโอ๋ 3 ชั้น

ดอกระเวียง

ดอกรังหอกปิด

ดอกรังต่อ

ดอกปลึด

ดอกรังหอกเปิด

ดอกบัวเผื่อน

ดอกทานตะวัน



ดอกทานตะวัน

ดอกไไข่แมงดา

ดอกรังผึ้ง

เห็มไหมครับว่าตะเกาของชาวเขวาสินรินทร์สวยงามมากแค่ไหน คราวหน้านะครับผมจะแนะนำช่างเครื่องเงิน มันมีฝีมือระดับปรมาจารย์ด้านเครื่องเงิน ให้ท่านได้รู้จัก สำหรับวันนี้สวัสดีครับ...

ประเกือมแบบพับและแบบม้วน

ประเกือมแบบพับ

หมอน


แมงดา

ประเกือมแบบม้วน


จารย์

ประเกือมแบบต่างๆ(ต่อจากตอนที่แล้ว)

ที่ผมได้ทิ้งท้ายเอาไว้ว่าประเกือมมีแบบอะไรบ้าง งั้นเรามาต่อกันเลยดีกว่าครับ

ประเกือมแบบฝาปิด

หกเหลี่ยม

กรวย

กระดุม







ประเกือมแบบต่างๆ

  หลังจากที่ห่างหายมานาน ท่านผู้อ่านคงสงสัยมานานสิครับว่าประเกือมนั้นมีรูปแบบอะไรบ้าง บางท่านเห็นประเกือมสวยๆงามๆแต่ไม่รู้ว่ามีเขาเรียกว่าอะไร วันนี้ผมจะมาไขข้อสงสัยทุกท่านครับว่าประเกือมมีรูปแบบอะไรบ้าง "รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหามครับ"

ปะเกือมแบ่งตามลักษณะกระบวนการผลิตได้ 4 รูปแบบ ดังนี้
1. ปะเกือมแบบตีขึ้นรูป
กลีบบัว
                                                                                                               
มะเฟือง


                                                                             
ฟักทอง


                                                                                  








2. ปะเกือมแบบปิดฝา

ถุงเงิน

ตะโพน

สิบสองเหลี่ยม


ยังไม่จบเพียงเท่านี้ครับติดตามตอนต่อไปครับ...